Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/68
Title: | Reducing Cost in Sugar Production Process with Lean Concepts A Case Study of Sugar Factory การลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตน้ำตาลทรายด้วยแนวคิดแบบลีน กรณีศึกษา บริษัทผลิตน้ำตาลแห่งหนึ่ง |
Authors: | PRAJAK PHONTHIRAKSA ประจักร์ พลธิรักษา SIRAVIT SWANGNOP สิรวิชญ์ สว่างนพ King Mongkut's University of Technology North Bangkok SIRAVIT SWANGNOP สิรวิชญ์ สว่างนพ siravit.s@eng.kmutnb.ac.th,siravits@kmutnb.ac.th siravit.s@eng.kmutnb.ac.th,siravits@kmutnb.ac.th |
Keywords: | การผลิตแบบลีน น้ำตาลทรายขาว น้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ การลดต้นทุนการผลิต Lean production White sugar Refined sugar Production cost reduction |
Issue Date: | 9 |
Publisher: | King Mongkut's University of Technology North Bangkok |
Abstract: | This research studied the application of lean manufacturing principles to the production processes of white sugar and refined white sugar to reduce production costs by at least 10 percent through waste analysis in the production process. A current state value stream map was created to identify waste within the production process. Following this, a future state value stream map was developed, and actual production lines were implemented. Based on this map to summarize the improvement results, the implementation period spanned from July 2023 to April 2024. The waste reduction results in the production processes for white sugar and refined white sugar revealed that in the Vacuum Pan process, the number of machines controlled by one worker increased from 2 to 3, reducing the workforce from 4 workers per shift to 2 workers per shift. Similarly, in the centrifugal process, one worker's control of machines increased from 1 machine to 2 machines, reducing the workforce from 7 workers per shift to 3 workers per shift. Overall, the total number of workers across all processes decreased from 27 workers per shift to 22 workers, representing a reduction of 18.52 percent, consequently lowering production costs for white sugar and refined white sugar.(Total 78 pages) งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการนำแนวคิดระบบการผลิตแบบลีนมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตน้ำตาลทรายขาวและน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ เพื่อลดต้นทุนการผลิตลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากการวิเคราะห์ความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต แผนภาพสายธารคุณค่าสถานะปัจจุบันถูกเขียนขึ้นเพื่อค้นหาความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต จากนั้นได้ทำการสร้างแผนภาพสายธารคุณค่าสถานะอนาคตและปรับปรุงสายการผลิตจริงเพื่อสรุปผลการปรับปรุง ระยะเวลาดำเนินการเริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2567 ผลการดำเนินงานจากการปรับปรุงเพื่อลดความสูญเปล่าของกระบวนการผลิตน้ำตาลทรายขาวและน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์พบว่า ในกระบวนการ Vacuum Pan พนักงาน 1 คน สามารถควบคุมเครื่องจักรได้เพิ่มขึ้นจาก 2 เครื่อง เป็น 3 เครื่อง ทำให้จำนวนพนักงานในกระบวนการนี้ลดลงจาก 3 คนต่อกะ เหลือ 2 คนต่อกะ ในขณะที่ในกระบวนการ Centrifugal พนักงาน 1 คน สามารถควบคุมเครื่องจักรได้เพิ่มขึ้นจาก 1 เครื่อง เป็น 2 เครื่อง ส่งผลให้จำนวนพนักงานในกระบวนการนี้ลดลงจาก 7 คนต่อกะ เหลือ 3 คนต่อกะ จำนวนพนักงานรวมทั้งหมดในทุกกระบวนการจึงลดลงจาก 27 คนต่อกะ เหลือ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 18.52 ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตน้ำตาลทรายขาวและน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ลดลง(สารนิพนธ์มีจำนวนทั้งสิ้น 78 หน้า) |
URI: | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/68 |
Appears in Collections: | FACULTY OF ENGINEERING |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6501092856531.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.