Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRATTHAWICH UNAKANPORNen
dc.contributorรัฐวิชญ์ อุณากัณฑ์พรth
dc.contributor.advisorNATTAPOL PHUMSIRIen
dc.contributor.advisorณัฐพล พุ่มศิริth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-07-02T08:48:23Z-
dc.date.available2025-07-02T08:48:23Z-
dc.date.created2526
dc.date.issued8/6/2526
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/323-
dc.description.abstractDue to the rising trend of employee resignations and increasing work-related stress caused by workplace bullying, this study aims to explore the patterns and coping methods of workplace bullying among employees in the refinery industry in Rayong Province. The objective is to provide guidelines for effectively handling workplace bullying and enhancing overall organizational performance. the target population consists of 14,387 employees in the refinery industry in Rayong, with a sample size of 389 participants. Data was collected using questionnaires and analyzed through descriptive statistics (percentage, mean, standard deviation) and inferential statistics (t-test and ANOVA).The findings indicate that most respondents are male, aged between 25–45 years, with education below a bachelor’s degree, working at the operational level with 1–5 years of work experience. The primary cause of bullying was identified as seeking amusement. Verbal bullying was found to be the most prevalent form, including yelling, threats, and the use of rude or demeaning language. the comparison of perceived significance of bullying patterns based on general demographics showed no statistically significant difference at the .05 level. However, the comparison of coping methods revealed statistically significant differences based on job position and years of service at the .05 level.en
dc.description.abstractจากแนวโน้มการลาออกของพนักงานเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และปัญหาความเครียดสะสมจากการทำงาน อันเนื่องจากสาเหตุการกลั่นแกล้งในสถานที่ทำงาน ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันจังหวัดระยอง เพื่อเป็นแนวทางในการรับมือต่อสถานการณ์การกลั่นแกล้งในที่ทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรโดยรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานในอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันจังหวัดระยอง จำนวน 14,387 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 389 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอ้างอิง ได้แก่ t-test และ Anovaผลการวิจัยพบว่า พนักงานในอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันจังหวัดระยอง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 25-45 ปี มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี เป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ มีอายุงาน 1-5 ปี สาเหตุที่ก่อให้เกิดการกลั่นแกล้งในที่ทำงานมากที่สุด คือ เพื่อความสนุกสนาน รูปแบบการกลั่นแกล้งในที่ทำงานให้ความสำคัญมากกับด้านการกลั่นแกล้งทางวาจา (Verbal Bullying) ด้วยการตะโกนใส่ ข่มขู่ทำให้กลัว และพูดจาดูถูก หยาบคายใส่ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของรูปแบบการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน จำแนกตามสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ระดับความสำคัญของรูปแบบการกลั่นแกล้งในที่ทำงานของพนักงานโดยภาพรวม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน พบว่า ด้านตำแหน่งงานในปัจจุบัน และด้านอายุงานมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectรูปแบบ วิธีการรับมือ การกลั่นแกล้งในที่ทำงาน อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันth
dc.subjectPatterns Methods Workplace Bullying Refinery Industryen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationManufacturingen
dc.titleA Study of Patterns and Coping Methods of Workplace Bullying of Employees in the Refinery Industry Rayong Province.en
dc.titleการศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันจังหวัดระยองth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNATTAPOL PHUMSIRIen
dc.contributor.coadvisorณัฐพล พุ่มศิริth
dc.contributor.emailadvisornattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Business Administration (บธ.ม.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineIndustrial Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมth
Appears in Collections:FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6614011858173.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.