Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/318
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NATTAKUL THRONGBUNDIT | en |
dc.contributor | ณัฐกุล ทรงบัณฑิตย์ | th |
dc.contributor.advisor | NATTAPOL PHUMSIRI | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐพล พุ่มศิริ | th |
dc.contributor.other | King Mongkut's University of Technology North Bangkok | en |
dc.date.accessioned | 2025-07-02T08:48:22Z | - |
dc.date.available | 2025-07-02T08:48:22Z | - |
dc.date.created | 2526 | |
dc.date.issued | 8/6/2526 | |
dc.identifier.uri | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/318 | - |
dc.description.abstract | Due to the increasing trend of employee turnover due to workplace bullying, the researcher is interested in a study of Patterns and Coping Methods of Workplace Bullying of Employees in the Automotive Industry Rayong Province a guideline for dealing with workplace bullying and increasing overall organizational efficiency. The population used in this study was 20,486 employees in the construction industry in Rayong Province, with a total sample of 394 people. The research instrument was a questionnaire and descriptive statistics were used, including percentage, mean, and standard deviation, and inferential statistics, including t-test and Anova.The results of the study found that Employees in the automotive industry in Rayong Province are mostly male, between 25-45 years old, bachelor's degree, worked at the operational level for more than 5 years are likely to change jobs. The forms of workplace bullying gave great importance to verbal bullying, such as spreading rumors/gossip. When comparing the average difference in the importance level of the forms of workplace bullying classified by the general status of the respondents, found there was no statistically significant difference at .05 level. When comparing the average difference in the level of opinions on how to deal with workplace bullying classified by the general status of the respondents, it was found that gender and education level were statistically significant at .05 level. | en |
dc.description.abstract | จากแนวโน้มการลาออกของพนักงานเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และปัญหาความเครียดสะสมจากการทำงาน เนื่องจากสาเหตุการกลั่นแกล้งในสถานที่ทำงาน ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์จังหวัดระยอง เพื่อเป็นแนวทางในการรับมือต่อสถานการณ์การกลั่นแกล้งในที่ทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรโดยรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์จังหวัดระยอง จำนวน 20,486 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 394 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอ้างอิง ได้แก่ t-test และ Anovaผลการวิจัยพบว่า พนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์จังหวัดระยอง ส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มเพศชาย อายุอยู่ในช่วง 25-45 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งระดับปฏิบัติการ อายุงานมากกว่า 5 ปี มีแนวโน้มจะย้ายงาน มีความสุขกับการทำงานปัจจุบัน ไม่เคยถูกกลั่นแกล้งในที่ทำงาน ไม่เคยกลั่นแกล้งผู้อื่นในที่ทำงาน และสาเหตุที่ก่อให้เกิด การกลั่นแกล้งในที่ทำงานเพราะต้องการอำนาจเหนือผู้อื่น รูปแบบการกลั่นแกล้งในที่ทำงานให้ความสำคัญมากกับด้านการกลั่นแกล้งทางวาจา ด้วยการปล่อยข่าวลือ/นินทา เมื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของรูปแบบการกลั่นแกล้ง ในที่ทำงาน จำแนกตามสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ไม่แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นของวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน จำแนกตามสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ด้านเพศ และ ด้านระดับการศึกษา มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | King Mongkut's University of Technology North Bangkok | |
dc.rights | King Mongkut's University of Technology North Bangkok | |
dc.subject | รูปแบบ วิธีการรับมือ การกลั่นแกล้งในที่ทำงาน อุตสาหกรรมยานยนต์ | th |
dc.subject | Patterns Methods Workplace Bullying Automotive Industry | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.subject.classification | Manufacturing | en |
dc.title | A Study of Patterns and Coping Methods of Workplace Bulling of Employees in the Automotive Industry Rayong Province | en |
dc.title | การศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์จังหวัดระยอง | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | NATTAPOL PHUMSIRI | en |
dc.contributor.coadvisor | ณัฐพล พุ่มศิริ | th |
dc.contributor.emailadvisor | nattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | nattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Business Administration (บธ.ม.) | en |
dc.description.degreename | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Industrial Business Administration | en |
dc.description.degreediscipline | บริหารธุรกิจอุตสาหกรรม | th |
Appears in Collections: | FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6614011858114.pdf | 934.35 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.