Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/127
Title: Development of a Lithium Battery Management System (BMS) Training Kit to Enhance Technical Proficiency of Vocational Automotive Students
การพัฒนาชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างยนต์
Authors: NIRUN SANSUK
นิรันดร์ แสนสุข
SURAWUT YANIL
สุรวุฒิ ยะนิล
King Mongkut's University of Technology North Bangkok
SURAWUT YANIL
สุรวุฒิ ยะนิล
surawut.y@fte.kmutnb.ac.th,sarawuty@kmutnb.ac.th
surawut.y@fte.kmutnb.ac.th,sarawuty@kmutnb.ac.th
Keywords: ชุดประลอง ระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Training Kit
Lithium Battery Management System
Learning Achievement
Issue Date:  9
Publisher: King Mongkut's University of Technology North Bangkok
Abstract: This research aimed to: 1) develop and evaluate the effectiveness of a lithium battery management system (BMS) training kit, and 2) compare students’ learning achievement using the training kit against a specified criterion. The sample group consisted of 20 second-year vocational students selected through cluster random sampling. The research instruments included: 1) a teaching problem recording form, 2) the BMS training kit, 3) a suitability evaluation form with content validity indices ranging from 0.60 to 1.00, and 4) a performance observation form with consistency indices ranging from 0.60 to 1.00 and an inter-rater reliability coefficient of 0.81. Data were analyzed using content analysis, mean, standard deviation, and t-test statistics. The results showed that the overall suitability of the BMS training kit was at the highest level (x̄ = 4.94, S.D. = 0.08). The training kit’s effectiveness exceeded the specified 80/80 criterion. Additionally, students’ post-training learning achievement was significantly higher than the 80% benchmark at the 0.05 level of statistical significance.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียมกับเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นปีที่ 2 จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบบันทึกสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 2) ชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม 3) แบบประเมินความเหมาะสมของชุดประลอง ซึ่งมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.60–1.00 และ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ซึ่งมีค่าความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมินตั้งแต่ 0.60–1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของเกณฑ์การประเมินระหว่างผู้ประเมินเท่ากับ 0.81 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียมมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.94, S.D. = 0.08) มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่ระดับ 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการเรียนด้วยชุดประลอง สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/127
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602017856120.pdf5.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.