Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNIRUN SANSUKen
dc.contributorนิรันดร์ แสนสุขth
dc.contributor.advisorSURAWUT YANILen
dc.contributor.advisorสุรวุฒิ ยะนิลth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-29T03:20:10Z-
dc.date.available2025-04-29T03:20:10Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/127-
dc.description.abstractThis research aimed to: 1) develop and evaluate the effectiveness of a lithium battery management system (BMS) training kit, and 2) compare students’ learning achievement using the training kit against a specified criterion. The sample group consisted of 20 second-year vocational students selected through cluster random sampling. The research instruments included: 1) a teaching problem recording form, 2) the BMS training kit, 3) a suitability evaluation form with content validity indices ranging from 0.60 to 1.00, and 4) a performance observation form with consistency indices ranging from 0.60 to 1.00 and an inter-rater reliability coefficient of 0.81. Data were analyzed using content analysis, mean, standard deviation, and t-test statistics. The results showed that the overall suitability of the BMS training kit was at the highest level (x̄ = 4.94, S.D. = 0.08). The training kit’s effectiveness exceeded the specified 80/80 criterion. Additionally, students’ post-training learning achievement was significantly higher than the 80% benchmark at the 0.05 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียมกับเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นปีที่ 2 จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบบันทึกสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 2) ชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม 3) แบบประเมินความเหมาะสมของชุดประลอง ซึ่งมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.60–1.00 และ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ซึ่งมีค่าความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมินตั้งแต่ 0.60–1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของเกณฑ์การประเมินระหว่างผู้ประเมินเท่ากับ 0.81 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียมมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.94, S.D. = 0.08) มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่ระดับ 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการเรียนด้วยชุดประลอง สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectชุดประลอง ระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectTraining Kiten
dc.subjectLithium Battery Management Systemen
dc.subjectLearning Achievementen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers of vocational subjectsen
dc.titleDevelopment of a Lithium Battery Management System (BMS) Training Kit to Enhance Technical Proficiency of Vocational Automotive Studentsen
dc.titleการพัฒนาชุดประลองระบบการจัดการแบตเตอรี่ลิเธียม เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างยนต์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSURAWUT YANILen
dc.contributor.coadvisorสุรวุฒิ ยะนิลth
dc.contributor.emailadvisorsurawut.y@fte.kmutnb.ac.th,sarawuty@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsurawut.y@fte.kmutnb.ac.th,sarawuty@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science in Technical Education (ค.อ.ม.)en
dc.description.degreenameครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (M.S.Tech.Ed.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineTeacher Training in Mechanical Engineeringen
dc.description.degreedisciplineครุศาสตร์เครื่องกลth
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602017856120.pdf5.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.