Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/73
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTEERAPONG CHINDASRIen
dc.contributorธีรพงศ์ จินดาศรีth
dc.contributor.advisorRAKNARIN SANRACHen
dc.contributor.advisorรักนรินทร์ แสนราชth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-01-14T03:29:28Z-
dc.date.available2025-01-14T03:29:28Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/73-
dc.description.abstractThis research aims to Establishing Carbon Footprint Management Readiness for Consumer Goods, and to compare differences in preparedness guidelines for carbon footprint management based on respondents' general demographic characteristics. The sample size consisted of 100 respondents, using a survey research methodology. The research instrument used was a questionnaire, statistical methods employed included percentage, mean, standard deviation, independent samples t-test, and One-Way ANOVA. Data were analyzed using the SPSS (Statistical Package for the Social Sciences).The research findings revealed that the overall Establishing Carbon Footprint Management Readiness for Consumer Goods is at a high level. The preparation guidelines, categorized by different aspects, including knowledge management, employee engagement, organizational support, and technological innovation, are also at a high level. When comparing the Establishing Carbon Footprint Management Readiness for Consumer Goods based on general characteristics such as gender, age, educational background, operational level, and length of service, statistically significant differences were found at the .05 level (Total 113 pages)en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อการจัดการคาร์บอนฟุตพริ้นขององค์กรในธุรกิจผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค และเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อการจัดการคาร์บอนฟุตพริ้นขององค์กรในธุรกิจผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค จำแนกตามสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง 100 ราย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent samples t-test และ One-Way ANOVA การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSSผลการวิจัยพบว่าระดับแนวทางการเตรียมความพร้อมขององค์กรในธุรกิจผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค โดยภาพรวมมีแนวทางการเตรียมความพร้อมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกรายด้านขององค์กรในธุรกิจผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค ด้านการจัดการความรู้ ด้านการมีส่วนร่วมของบุคลากร ด้านการสนับสนุนขององค์กรและด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมขององค์กร มีแนวทางการเตรียมความพร้อมขององค์กรในสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของแนวทางการเตรียมความพร้อมขององค์กรในธุรกิจผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค จำแนกตามสถานภาพทั่วไป ด้านเพศ ด้านอายุ ด้านวุฒิการศึกษา ด้านด้านระดับการปฏิบัติการในองค์กร และด้านระยะเวลาการปฏิบัติการในองค์กร โดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (มีจำนวนทั้งสิ้น 113 หน้า)th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectแนวทางการเตรียมความพร้อมth
dc.subjectคาร์บอนฟรุตพริ้นth
dc.subjectธุรกิจผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคth
dc.subjectReadinessen
dc.subjectCarbon Footprinten
dc.subjectConsumer Goodsen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationElectricity, gas, steam and air conditioning supplyen
dc.titleEstablishing Carbon Footprint Management Readiness for Consumer Goods.en
dc.titleแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อการจัดการคาร์บอนฟุตพริ้นขององค์กรในธุรกิจผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorRAKNARIN SANRACHen
dc.contributor.coadvisorรักนรินทร์ แสนราชth
dc.contributor.emailadvisorraknarin.s@fba.kmutnb.ac.th,rkn@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorraknarin.s@fba.kmutnb.ac.th,rkn@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Business Administration (บธ.ม.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineIndustrial Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมth
Appears in Collections:FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6614011854054.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.