Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/331
Title: | Study of Patterns and Coping Methods of Workplace Bullying of Employees in the Construction Industry Rayong Province การศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง จังหวัดระยอง |
Authors: | DARANEE JITKHAJORNDET ดารณี จิตรขจรเดช NATTAPOL PHUMSIRI ณัฐพล พุ่มศิริ King Mongkut's University of Technology North Bangkok NATTAPOL PHUMSIRI ณัฐพล พุ่มศิริ nattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th nattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th |
Keywords: | รูปแบบ วิธีการรับมือ การกลั่นแกล้งในที่ทำงาน อุตสาหกรรมการก่อสร้าง Patterns Methods Workplace Bullying Construction Industry |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | King Mongkut's University of Technology North Bangkok |
Abstract: | Some employees resign due to workplace bullying. Therefore, the researcher is interested in studying the patterns and methods of dealing with workplace bullying as a guideline for dealing with workplace bullying situations and increasing the overall efficiency of the organization. The population used in this study was employees in the construction industry in Rayong Province, with a total sample size of 399 people. The instruments used were questionnaires. Descriptive statistics were used, including percentages, means, and standard deviations. Inferential statistics were used, including t-test and Anova. The research results found that most employees in the construction industry in Rayong Province were male, aged 25-45 years, had an education level lower than a bachelor's degree, were operational level employees, and had worked for 1-5 years. The most common cause of workplace bullying was the desire for power over others, in the form of pointing fingers at the face/physical contact. The most important form of workplace bullying was physical bullying, and most employees dealt with workplace bullying by informing their supervisors. The methods of coping varied depending on their current positions. Most chose to walk away or avoid the person and asked the person to stop the bullying behavior. การลาออกของพนักงานส่วนหนึ่งเกิดจากสาเหตุการกลั่นแกล้งในสถานที่ทำงาน ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน เพื่อเป็นแนวทางในการรับมือต่อสถานการณ์การกลั่นแกล้งในที่ทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรโดยรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานในอุตสาหกรรมการก่อสร้างจังหวัดระยอง จำนวน 61,584 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 399 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอ้างอิง ได้แก่ t-test และ Anova ผลการวิจัยพบว่า พนักงานในอุตสาหกรรมการก่อสร้างจังหวัดระยอง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 25-45 ปี มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี เป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ มีอายุงาน 1-5 ปี พบสาเหตุที่ก่อให้เกิดการกลั่นแกล้งในที่ทำงานมากที่สุด คือ การต้องการมีอำนาจเหนือผู้อื่น ในรูปแบบของการชี้นิ้วใส่หน้า/การสัมผัสร่างกาย เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของรูปแบบการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน พบว่า ด้านการกลั่นแกล้งทางกาย มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพนักงานส่วนใหญ่รับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงานด้วยวิธีการแจ้งหัวหน้างานให้ทราบ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นของวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน พบว่า ด้านตำแหน่งงานในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยส่วนใหญ่เลือกวิธีการเดินหนีหรือหลีกเลี่ยง และการร้องขอให้บุคคลนั้นหยุดพฤติกรรมการกลั่นแกล้ง |
URI: | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/331 |
Appears in Collections: | FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6614011858271.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.