Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/328
Title: | Study of marketing strategies to promote tourism in secondary cities in the southern region การศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรองในเขตภาคใต้ |
Authors: | NATTAWUT TANOMTON ณัฐวุฒิ ถนอมตน THITIRAT THAWORNSUJARITKUL ฐิติรัตน์ ถาวรสุจริตกุล King Mongkut's University of Technology North Bangkok THITIRAT THAWORNSUJARITKUL ฐิติรัตน์ ถาวรสุจริตกุล thitirat.t@fba.kmutnb.ac.th,thitiratth@kmutnb.ac.th thitirat.t@fba.kmutnb.ac.th,thitiratth@kmutnb.ac.th |
Keywords: | กลยุทธ์ทางการตลาด ท่องเที่ยวเมืองรอง ภาคใต้ Marketing Strategies Tourism in Secondary Cities The Southern region |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | King Mongkut's University of Technology North Bangkok |
Abstract: | The tourism industry is a key driver of the economy, generating substantial national revenue. Thailand’s tourism development mainly focuses on major cities, prompting this study to explore marketing strategies for promoting secondary cities. The research targets Thai tourists aged 18 and above, with a sample size of 212 respondents. Data was collected using questionnaires and analyzed with SPSS software. Statistical methods include percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA, and Scheffé’s post hoc analysis. The study sets a significance level at 0.05. The majority of respondents are male, aged 29–44, with a bachelor's degree, residing in southern Thailand, and employed in private companies. They travel to secondary cities in the South once a year, mainly on weekends, with family. Trips typically last 2–3 days, costing 10,001–15,000 THB, with hotels (1,000–1,500 THB per night) as the preferred accommodation. Google is the primary source of travel information. Popular activities include nature sightseeing, snorkeling, and visiting waterfalls. The most frequently purchased souvenirs are household items and memorabilia. Nature-based tourism is the most preferred, with Trang Province being the most visited destination. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวถือเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยมีส่วนช่วยสร้างรายได้มหาศาลให้กับประเทศ การพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยส่วนใหญ่มักมุ่งเน้น ไปที่เมืองหลัก ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของเมืองรอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทยอายุ 18 ปีขึ้นไป กำหนดกลุ่มตัวอย่าง 212 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทำแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test Anova และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วย Scheffe Analysis การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS งานวิจัยนี้กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเพศชาย มีช่วงอายุ 29-44 ปี มีสถานภาพคู่รัก/สมรส/ครอบครัว มีวุฒิการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคใต้ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 30,000 บาท มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน เดินทางท่องเที่ยวเมืองรองในเขตภาคใต้โดยเฉลี่ย 1 ครั้ง / ปี ช่วงวันที่ใช้ในการใช้ในการเดินทางท่องเที่ยวมากที่สุดโดยเฉลี่ยคือ วันเสาร์-อาทิตย์ ชอบเดินทางท่องเที่ยวกับครอบครัว พ่อ แม่ พี่น้อง ระยะเวลาที่ใช้ในการท่องเที่ยวแต่ละครั้งโดยเฉลี่ย 2 - 3 วัน มีค่าใช้จ่ายตลอดทริปในการท่องเที่ยวแต่ละครั้งโดยเฉลี่ย 10,001 - 15,000 บาท ราคาที่พักที่ใช้บริการบ่อยที่สุดคือ 1,000 – 1,500 บาท ที่พักที่ใช้บริการบ่อยที่สุดในการท่องเที่ยวเมืองรองคือ โรงแรม มีช่องทางการหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวบ่อยที่สุดคือ Google งานอดิเรก/กิจกรรมที่ชอบทำ ในช่วงเวลาที่มาท่องเที่ยวคือ ชมธรรมชาติ / ดำน้ำ /เที่ยวน้ำตก ประเภทของฝากที่เลือกซื้อบ่อยที่สุด ในการท่องเที่ยวเมืองรองคือ ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึกประเภท/รูปแบบ/ชนิดของการท่องเที่ยวที่ชอบมากที่สุดคือ การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ จังหวัดเมืองรอง ในเขตภาคใต้ ที่เดินทางไปท่องเที่ยวบ่อยที่สุดคือ จังหวัดตรัง |
URI: | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/328 |
Appears in Collections: | FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6614011858238.pdf | 3.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.