Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/326
Title: A STUDY OF PATTERNS AND COPING METHODS OF WORKPLACE BULLYING OF EMPLOYEES IN THE PETROCHEMICAL INDUSTRY RAYONG PROVINCE
การศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทํางานของพนักงานในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจังหวัดระยอง
Authors: NUTNICHA MALITHONG
ณัฐนิชา มะลิทอง
NATTAPOL PHUMSIRI
ณัฐพล พุ่มศิริ
King Mongkut's University of Technology North Bangkok
NATTAPOL PHUMSIRI
ณัฐพล พุ่มศิริ
nattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th
nattapol.p@fba.kmutnb.ac.th,nattapolph@kmutnb.ac.th
Keywords: รูปแบบ วิธีการรับมือ การกลั่นแกล้งในที่ทำงาน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
Patterns and Coping Methods
Workplace Bullying
Petrochemical Industry
Issue Date:  8
Publisher: King Mongkut's University of Technology North Bangkok
Abstract: The increasing trend of employee resignations has revealed that Workplace Bullying is a significant factor influencing employees' decisions to leave their jobs. This issue leads to accumulated stress and adversely affects the overall work environment. In order to address this issue and improve overall organizational effectiveness, the researcher aims to study the Patterns and Coping Methods of Workplace Bullying of Employees in the Petrochemical Industry Rayong Province. The population of this study comprises 4,837 employees in the Petrochemical Industry in Rayong Province with a total sample size of 370 participants.                        A questionnaire is used as a research tool to collect data and Descriptive Statistics including percentages, mean and standard deviations are employed. Additionally, Reference Statistics, including t-tests and Anova are used to analyze the data.According to the results, most of the respondents were men between the ages of 25 and 45, had a bachelor's degree, worked in operational roles and had more than five years of work experience. The most common cause of Workplace Bullying was enjoyment. Social Bullying was rated as the most significant form.   The comparison of the differences in the mean levels of importance of the forms of Workplace Bullying revealed statistically significant differences at the .05 level overall in terms of gender and work experience. When comparing the differences in the mean levels of opinions on these methods, there is a statistically significant difference at the .05 level overall in terms of work experience.
จากแนวโน้มการลาออกของพนักงานที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง พบว่า ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการตัดสินใจลาออกคือ ปัญหาการกลั่นแกล้งในสถานที่ทำงาน ซึ่งนำไปสู่ความเครียดสะสมและส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในการทำงาน ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษารูปแบบและวิธีการรับมือ การกลั่นแกล้งในที่ทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจังหวัดระยอง เพื่อเป็นแนวทาง  ในการรับมือต่อสถานการณ์การกลั่นแกล้งในที่ทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรโดยรวม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานในอุตสาหกรรมปโตรเคมีในจังหวัดระยอง จำนวน 4,837 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอ้างอิงได้แก่ t-test และ Anova ในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเพศชาย อายุอยู่ในช่วง 25-45 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ตำแหน่งระดับปฏิบัติการ และมีอายุงานมากกว่า 5 ปี โดยสาเหตุ       ที่คิดว่าก่อให้เกิดการกลั่นแกล้งมากที่สุดคือ เพื่อความสนุกสนาน รูปแบบที่พนักงานให้ความสำคัญมากที่สุดคือ ด้านการกลั่นแกล้งทางสังคม เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของรูปแบบการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน โดยภาพรวม จำแนกตามสถานภาพทั่วไป    ด้านเพศ และอายุงานพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพนักงานส่วนใหญ่เห็นด้วยกับวิธีการรับมือการกลั่นแกล้งในที่ทำงานด้วยการเดินหนีหรือหลีกเลี่ยง         เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นของวิธีการรับมือการกลั่นแกล้ง     ในที่ทำงาน พบว่า ด้านอายุงาน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/326
Appears in Collections:FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6614011858211.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.