Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/31
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSITTINON KONGMINen
dc.contributorสิทธินนท์ คงมินทร์th
dc.contributor.advisorCHAIRAT TEERAWATTANASUKen
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ ธีระวัฒนสุขth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2024-12-04T07:36:23Z-
dc.date.available2024-12-04T07:36:23Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/31-
dc.description.abstractThe objective of this master project is to study the factors influencing decision-making in routine maintenance of overpass under the responsibility of Public Works Department. The Analytic Hierarchy Process (AHP) was employed in this study, where decision-makers involved in the maintenance of overpasses were interviewed to complete the AHP questionnaires. The study focused on five overpasses consists of: Lamsali, Prachanukul, Khlong Tan, Phong Phet, and Sukhaphiban Five -Theparak overpasses.The research findings indicate that decision-makers assigned the following weights to the main factors, from highest to lowest: condition of damage (32%), International Roughness Index (22%), number of complaints (13%), traffic volume (11%), policy urgency (9%), number of accidents (6%), and population density (4%), respectively. When comparing the five overpasses using these factors, the overpasses prioritization ranked as follows: Lamsali (32%), Prachanukul (22%), Khlong Tan (20%), Phong Phet (20%), and Sukhaphiban Five -Theparak (6%). These findings can serve as a guideline for planning and prioritizing the routine overpass maintenance more effectively in the future.en
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการซ่อมบำรุงปกติของสะพานข้ามทางแยกในความรับผิดชอบของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process : AHP) โดยสัมภาษณ์ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซ่อมบำรุงสะพานข้ามทางแยกเพื่อทำแบบสอบถาม AHP และให้ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซ่อมบำรุงสะพานข้ามทางแยกเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม มีจำนวน 5 สะพาน ได้แก่ สะพานข้ามทางแยกลำสาลี สะพานข้ามทางแยกประชานุกูล สะพานข้ามทางแยกคลองตัน สะพานข้ามทางแยกพงษ์เพชร และสะพานข้ามทางแยกสุขาภิบาล 5 – เทพรักษ์ผลจากการวิจัยพบว่าผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซ่อมบำรุงสะพานข้ามทางแยกให้ค่าน้ำหนักของปัจจัยหลัก จากมากไปหาน้อยดังนี้ สภาพความเสียหาย คิดเป็นร้อยละ 32 ค่าดัชนีความเรียบสากล คิดเป็นร้อยละ 22 จำนวนข้อร้องเรียน คิดเป็นร้อยละ 13 ปริมาณจราจร คิดเป็นร้อยละ 11 ความเร่งด่วนทางด้านนโยบาย คิดเป็นร้อยละ 9 จำนวนอุบัติเหตุ คิดเป็นร้อยละ 6 และความหนาแน่นของประชากร คิดเป็นร้อยละ 4 ตามลำดับ เมื่อนำปัจจัยหลักเปรียบเทียบเชิงคู่กับสะพานข้ามทางแยกในความรับผิดชอบของสำนักการโยธา จำนวน 5 สะพาน จัดลำดับความสำคัญเรียงค่าน้ำหนักจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ สะพานข้ามทางแยกลำสาลี คิดเป็นร้อยละ 32 สะพานข้ามทางแยกประชานุกูล คิดเป็นร้อยละ 22 สะพานข้ามทางแยกคลองตัน และสะพานข้ามทางแยกพงษ์เพชร คิดเป็นร้อยละ 20 สะพานข้ามทางแยกสุขาภิบาล 5 – เทพรักษ์ คิดเป็นร้อยละ 6 ผลการวิจัยดังกล่าว สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนและจัดลำดับความสำคัญในการซ่อมบำรุงสะพานข้ามทางแยกอย่างมีประสิทธิภาพในอนาคตth
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นth
dc.subjectการซ่อมบำรุงปกติth
dc.subjectการตัดสินใจth
dc.subjectAnalytic Hierarchy Processen
dc.subjectRoutine road maintenanceen
dc.subjectDecision Makingen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationConstructionen
dc.subject.classificationMechanics and metal worken
dc.titlePrioritization for routine overpass bridges maintenance in the responsibility of Public Works Departmenten
dc.titleการจัดลำดับความสำคัญสำหรับการซ่อมบำรุงปกติของสะพานข้ามทางแยกในความรับผิดชอบของ สำนักการโยธา กรุงเทพมหานครth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorCHAIRAT TEERAWATTANASUKen
dc.contributor.coadvisorชัยรัตน์ ธีระวัฒนสุขth
dc.contributor.emailadvisorchairat.t@cit.kmutnb.ac.th,chairatte@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchairat.t@cit.kmutnb.ac.th,chairatte@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Engineering (วศ.ม.)en
dc.description.degreenameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (M.Eng.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCivil and Environmental Engineering Technologyen
dc.description.degreedisciplineเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อมth
Appears in Collections:COLLEGE OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6503062851559.pdf9.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.