Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/277
Title: | STUDY OF THE DEVELOPMENT OF COMPETENCIES BASED ON TEACHER PERFORMANCE STANDARDS FOR 21ST CENTURYLEARNING MANAGEMENT IN VOCATIONAL INSTITUTIONS IN RATCHABURI PROVINCE การศึกษาสภาพการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู เพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐในจังหวัดราชบุรี |
Authors: | KAMONPOP CHUMSRI กมลภพ ชุมศรี SARAWUT SUBYAEM สราวุฒิ สืบแย้ม King Mongkut's University of Technology North Bangkok SARAWUT SUBYAEM สราวุฒิ สืบแย้ม sarawut.s@fte.kmutnb.ac.th,sarawuts@kmutnb.ac.th sarawut.s@fte.kmutnb.ac.th,sarawuts@kmutnb.ac.th |
Keywords: | การพัฒนาสมรรถนะครู มาตรฐานการปฏิบัติงาน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Teacher Competency Development; Performance Standards; 21st Century Learning. |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | King Mongkut's University of Technology North Bangkok |
Abstract: | The objectives of this study were to (1) investigate the current and desired states of teacher competencies based on performance standards for 21st-century learning management in public vocational education institutions in Ratchaburi Province, and (2) prioritize the needs for competency development.The sample comprised 218 teachers from 7 public vocational education institutions in Ratchaburi Province in the academic year 2024. The research instrument was a dual-response Likert scale questionnaire with content validity and reliability coefficients of 0.99 and 0.97, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation, and the Modified Priority Needs Index (PNImodified), along with content analysis.The findings revealed that the overall current competency level of teachers was at a moderate level (=2.90), with the highest mean score in the aspect of professional practice (=2.93). The overall desired competency level was at a high level (=4.72), with the highest in learning management (=4.73). The priority needs for competency development, ranked by PNImodified values, were: learning management (PNImodified=0.64), community and parental engagement (PNImodified=0.63), and professional practice (PNImodified=0.61) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐในจังหวัดราชบุรี (2) เพื่อศึกษาลำดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐในจังหวัดราชบุรีกลุ่มตัวอย่าง คือ ครูที่ปฏิบัติงานสอนในในสถานศึกษาอาชีวศึกษาของรัฐในจังหวัดราชบุรีจำนวนทั้งสิ้น 218 คน จากสถานศึกษา จำนวน 7 แห่ง ในปีการศึกษา 2567 เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่าแบบตอบสนองคู่ ประกอบด้วยข้อมูลสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีความเที่ยง เท่ากับ 0.99 และ 0.97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีความ ค่าดัชนีตองการจำเป็น (PNI modified) และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการค้นคว้าอิสระพบว่า สภาพปัจจุบันของสมรรถนะตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (= 2.90) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการปฏิบัติหน้าที่ครู (= 2.93) ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.72) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ (= 4.73) และผลการประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรียงตามลำดับจากมากไปน้อยได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้ (PNI modified = 0.64) ด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน (PNI modified = 0.63) และด้านการปฏิบัติหน้าที่ครู (PNI modified = 0.61) |
URI: | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/277 |
Appears in Collections: | FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6602061811101.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.