Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/231
Title: | The Application of Lean Concepts to Increase Production Efficiency in Electrical and Electronics Compliances Industry. การประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ |
Authors: | THANWARAT HOMCHAN ธัญวรัตม์ หอมจันทน์ SUNEE WATTANAKOMOL สุนีย์ วรรธนโกมล King Mongkut's University of Technology North Bangkok SUNEE WATTANAKOMOL สุนีย์ วรรธนโกมล sunee.w@fba.kmutnb.ac.th,suneewan@kmutnb.ac.th sunee.w@fba.kmutnb.ac.th,suneewan@kmutnb.ac.th |
Keywords: | แนวคิดลีน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ Lean Thinking Productivity Improvement Electrical Appliances and Electronic Components Industry |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | King Mongkut's University of Technology North Bangkok |
Abstract: | The electrical appliance and electronic parts industry is in increasing demand. Therefore, the production process must consider efficient production. This research aims to study the application of lean concepts to improve production efficiency in the electrical appliance and electronic parts industry business group. A questionnaire was used as the research tool. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and one-way ANOVA.The research findings reveal that the importance level of applying Lean principles to enhance production efficiency in the electrical appliance and electronic component industry is very high (x̄ = 3.99). In specific areas, Waste elimination (MUDA) is considered highly important (x̄ = 3.92), Overburden elimination (MURI) is also rated highly important (x̄ = 4.02), and Process irregularity elimination (MURA) is deemed important (x̄= 4.03). Comparing mean differences concerning the application of Lean principles to enhance production efficiency across factors such as business duration and company size reveals statistically significant differences at the 0.05 level. (Total 183 pages) ณ ปัจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เป็นที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นในกระบวนการผลิตจึงต้องคำนึงถึงผลผลิตที่มีประสิทธิภาพ โดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยพบว่า ระดับความสำคัญเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพรวม อยู่ในระดับสำคัญมาก (x̄= 3.99) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการกำจัดความสูญเปล่าในกระบวนการ (MUDA) มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก (x̄= 3.92) ด้านการกำจัดการทำงานเกินกำลังของระบบ (MURI) มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก (x̄= 4.02) และด้านการกำจัดความไม่สม่ำเสมอของกระบวนการ (MURA) มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก (x̄= 4.03) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ด้านระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจและขนาดธุรกิจ โดยภาพรวม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (การค้นคว้าอิสระนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 183 หน้า) |
URI: | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/231 |
Appears in Collections: | FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6614011857274.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.