Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPHATTARAPHUN CHANSOONGen
dc.contributorภัทรพันธ์ จันทร์สูงth
dc.contributor.advisorSANTI HUTAMARNen
dc.contributor.advisorสันติ หุตะมานth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-29T03:20:14Z-
dc.date.available2025-04-29T03:20:14Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/143-
dc.description.abstractThe application of game-based learning enhances student engagement and facilitates better understanding of the subject matter. This research focused on using games to teach capacitor reading in electronic circuits, aiming to address students' challenges in unit conversion and value interpretation. The objectives were: 1) to develop a game-based learning model for reading capacitor values,      2) to evaluate students' learning progress after the intervention, and 3) to assess students' motivation levels after the intervention. A quasi-experimental, single-group, purposive sampling design was employed. The participants were 15 first-year vocational certificate students from the Mechatronics Department at Ang Thong Technical College.The research findings revealed that students exhibited high learning progress (46.66%) and moderate learning progress (53.33%). Students demonstrated the highest level of motivation towards the game-based learning process (mean = 4.59, standard deviation = 0.43). In conclusion, the developed game-based learning model for capacitor reading effectively enhanced learning motivation, improved students' understanding of capacitor reading, and resulted in significant learning progress.en
dc.description.abstractการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เกมเป็นฐานในการจัดการเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรียนสนุกและเข้าใจเนื้อหาได้ดีขึ้น งานวิจัยนี้ใช้เกมในการสอนเรื่องการอ่านค่าตัวเก็บประจุ เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนที่มีอุปสรรคในการแปลงหน่วยของตัวเก็บประจุและความสับสนในการอ่านค่า วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานในการอ่านค่าตัวเก็บประจุ 2) เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังจากผ่านการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และ 3) เพื่อตรวจสอบระดับแรงจูงใจของผู้เรียนหลังจากผ่านการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ในการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง เลือกเข้ากลุ่มด้วยวิธีเจาะจงกลุ่มเดียว ผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกเมคคาทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง จำนวน 15 คน     ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางเรียนในระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 46.66 และ ความก้าวหน้าทางเรียนในระดับกลาง คิดเป็นร้อยละ 53.33  ผู้เรียนมีระดับแรงจูงใจต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.43) สรุปได้ว่า การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน เรื่องการอ่านค่าตัวเก็บประจุ มาประยุกต์ช่วยสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในการอ่านค่าตัวเก็บประจุ และมีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ได้จริงth
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานth
dc.subjectตัวเก็บประจุth
dc.subjectแรงจูงใจth
dc.subjectGame-based learningen
dc.subjectCapacitoren
dc.subjectMotivationen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers of vocational subjectsen
dc.titleDevelopment of a Game-based Learning Model on Reading Capacitor Valuesen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน เรื่องการอ่านค่าตัวเก็บประจุth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSANTI HUTAMARNen
dc.contributor.coadvisorสันติ หุตะมานth
dc.contributor.emailadvisorsanti.h@fte.kmutnb.ac.th,santih@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsanti.h@fte.kmutnb.ac.th,santih@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science in Technical Education (ค.อ.ม.)en
dc.description.degreenameครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (M.S.Tech.Ed.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineTeacher Training in Mechanical Engineeringen
dc.description.degreedisciplineครุศาสตร์เครื่องกลth
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602017858033.pdf5.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.