Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/84
Title: Relationship between Positive Psychological Capital and Work Fatigue of Employees in Drug and Supplementary Business
ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกและความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพนักงานในธุรกิจยาและอาหารเสริม
Authors: NATTAYA KITTISOOKCHAROEN
ณัฐธยาน์ กิตติสุขเจริญ
BENJAWAN BOONYAPRAPHAN
เบญจวรรณ บุณยะประพันธ์
King Mongkut's University of Technology North Bangkok
BENJAWAN BOONYAPRAPHAN
เบญจวรรณ บุณยะประพันธ์
benjawan.b@arts.kmutnb.ac.th,benjawanb@kmutnb.ac.th
benjawan.b@arts.kmutnb.ac.th,benjawanb@kmutnb.ac.th
Keywords: ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก ความเหนื่อยล้าจากการทำงาน ธุรกิจยาและอาหารเสริม
Positive Psychological Capital
Work Fatigue
Drug and Supplementary Business
Issue Date:  9
Publisher: King Mongkut's University of Technology North Bangkok
Abstract: This research aims 1) to study levels of positive psychological capital and           work fatigue of employees and 2) to study the relationship between positive psychological capital and work fatigue of employees. The sample used in this research consisted of 343 employees in drug and supplementary business. The instrument used was a questionnaire with a 5-point Likert scale. The statistics used for data analysis included percentage, frequency, mean, standard deviation, and correlation coefficient. The results of the research indicated that 1) employees had a high average level of overall positive psychological capital, while the overall average level of work fatigue was low, and 2) positive psychological capital negatively related to work fatigue of employees (r = -0.293) with a statistical significance at .01 level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกและความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพนักงาน 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกและความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ พนักงานในธุรกิจยาและอาหารเสริม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 343 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามลักษณะมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ แบบ Linkert’s Scale สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าสถิติร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีระดับทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง ส่วนความเหนื่อยล้าจากการทำงานโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ำ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางลบกับความเหนื่อยล้าจากการทำงาน (r=-.293) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/84
Appears in Collections:FACULTY OF APPLIED ARTS

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6608031816038.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.