Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/371
Title: | Relationship between Workplace Health Promotion and Work Passion of Academic Supporting Staff in Universities ความสัมพันธ์ระหว่างการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานและความหลงใหลในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัย |
Authors: | YANISA TIRASIRIKUL ญาณิศา ติรศิริกุล CHANADDA PETCHPRAYOON ชนัดดา เพ็ชรประยูร King Mongkut's University of Technology North Bangkok CHANADDA PETCHPRAYOON ชนัดดา เพ็ชรประยูร chanadda.p@arts.kmutnb.ac.th,chanaddap@kmutnb.ac.th chanadda.p@arts.kmutnb.ac.th,chanaddap@kmutnb.ac.th |
Keywords: | การส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน ความหลงใหลในการทำงาน บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัย Workplace Health Promotion Work Passion Academic Supporting Staff in Universities |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | King Mongkut's University of Technology North Bangkok |
Abstract: | This research aims to 1) study the level of workplace health promotion and work passion of academic supporting staff in universities and 2) study the relationship between workplace health promotion and work passion of academic supporting staff in universities. The sample consisted of 360 academic supporting staff in universities, and data were collected using a questionnaire. Statistical analyses included frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The findings revealed that 1) overall, workplace health promotion and work passion of academic supporting staff in universities were at a high level, and 2) workplace health promotion was positively correlated with work passion at a statistically significant level of .01 (r = .539). Specifically, workplace health promotion in terms of organizational policies, environmental facilities, and educational activities demonstrated a positive correlation with work passion at a statistically significant level of .01 (r = .486, r = .378, and r = .486, respectively). การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสัมพันธ์ระหว่างการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานและความหลงใหลในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัย และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานและความหลงใหลในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัย จำนวน 360 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) การส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานและความหลงใหลในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัย โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2) การส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความหลงใหลในการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.539) โดยการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานด้านนโยบายเกี่ยวกับองค์การ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และด้านกิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความหลงใหลในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.486, r=.378, r=.486 ตามลำดับ) |
URI: | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/371 |
Appears in Collections: | FACULTY OF APPLIED ARTS |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6608031816208.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.