Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/366
Title: | Relationship between Artificial Intelligence Ethics and Work Effort of Private Company Employees ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์และความพยายามในการทำงานของพนักงานบริษัทเอกชน |
Authors: | NATTACHA SRIBUANGAM ณัฐชา ศรีบัวงาม CHANADDA PETCHPRAYOON ชนัดดา เพ็ชรประยูร King Mongkut's University of Technology North Bangkok CHANADDA PETCHPRAYOON ชนัดดา เพ็ชรประยูร chanadda.p@arts.kmutnb.ac.th,chanaddap@kmutnb.ac.th chanadda.p@arts.kmutnb.ac.th,chanaddap@kmutnb.ac.th |
Keywords: | จริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์ ความพยายามในการทำงาน พนักงานเอกชน Artificial Intelligence Ethics (AI Ethic) Work Effort Private Company Employee |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | King Mongkut's University of Technology North Bangkok |
Abstract: | This research aims to 1) study the level of artificial intelligence ethics and work effort among private company employees, and 2) study the relationship between artificial intelligence ethics and work effort among private company employees. The sample for this study consisted of 249 employees working in private companies. Data were collected using a questionnaire. The statistical analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The research findings revealed that 1) artificial intelligence ethics and work effort among private company employees were rated at the highest average level. 2) artificial intelligence ethics had a statistically significant positive correlation with work effort at the .01 level (r = .422). Specifically, each facet of artificial intelligence ethics: competitiveness and sustainability development, laws ethics and international standards, transparency and accountability, security and privacy, fairness, and reliability were positively correlated with work effort among private company employees at a statistically significant level of .01 (r = .287, r = .366, r = .298, r = .316, r = .347, r = .325, respectively). การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับจริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์และความพยายามในการทำงานของพนักงานเอกชน และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์และความพยายามในการทำงานของพนักงานเอกชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ พนักงานเอกชน จำนวน 249 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) จริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์และความพยายามในการทำงานของพนักงานเอกชน มีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด 2) ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพยายามในการทำงานของพนักงานเอกชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.422) โดยจริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์ด้านความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้านความสอดคล้องกับกฎหมาย จริยธรรม และมาตรฐานสากล ด้านความโปร่งใสและภาระความรับผิดชอบ ด้านความมั่นคงปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว ด้านความเท่าเทียม หลากหลาย ครอบคลุม และเป็นธรรม และด้านความน่าเชื่อถือมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพยายามในการทำงานของพนักงานเอกชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.287, r=.366, r=.298, r=.316, r=.347, r=.325 ตามลำดับ) |
URI: | http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/366 |
Appears in Collections: | FACULTY OF APPLIED ARTS |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
s6608031816062.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.