Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/27
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPLOYPAILIN THONG-INen
dc.contributorพลอยไพลิน ทองอินทร์th
dc.contributor.advisorCHAIRAT TEERAWATTANASUKen
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ ธีระวัฒนสุขth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2024-12-04T07:36:22Z-
dc.date.available2024-12-04T07:36:22Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/27-
dc.description.abstractThe objective of this master project was to investigate the stability and deformation of soil slopes in Bueng Nong Bon using the Finite Element Method (FEM) with PLAXIS 2D software. To accomplish this, the analyzed results from FEM were compared with measured actual data of soil behavior during water pumping to a level of -5.00 meters (AMSL). The study simulated the drawdown of water from Bueng Nong Bon, starting from 0.00 meters AMSL to a lowest point of -7.00 meters AMSL, at a pumping rate of 60 cubic meters per second.The analysis results revealed that the four studied cross-sections of Bueng Nong Bon's slopes (Sta. 4+700, Sta. 5+050, Sta. 5+150, and Sta. 5+450). All sections had a Factor of Safety greater than 1.0. This indicates that the slopes are sufficiently stable even if the water level is drawn down to the minimum retention level. The maximum observed slope deformation was 20.97 centimeters. When comparing the results from PLAXIS 2D with the measured actual data of soil behavior during water pumping at -5.00 meters AMSL, it was found that the results differed. The smallest difference was 0.00 meters, while the largest difference was 1.0 meter.(total 139 page)en
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการศึกษาเสถียรภาพและการเสียรูปของลาดดินด้วยแบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์ (Model, FEM) ด้วยโปรแกรม PLAXIS แบบ 2 มิติ โดยเปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการวิเคราะห์ทาง FEM กับค่าที่ได้จากการตรวจวัดพฤติกรรมของดินภายในบึงหนองบอนขณะสูบน้ำจนถึงระดับ -5.00 ม.รทก. โดยทำการศึกษาพร่องน้ำออกจากบึงหนองบอนที่ระดับน้ำตั้งแต่ 0.00 ม.รทก. จนถึงระดับ -7.00 ม.รทก. ในการจำลองเสถียรภาพและพฤติกรรมการเสียรูปของดินจะดำเนินการลดระดับน้ำด้วยอัตราการสูบน้ำเท่ากับ 60 ลบ.ม./วินาทีผลจากการวิเคราะห์พบว่าลาดดินบึงหนองบอนที่ทำการศึกษาจำนวน 4 หน้าตัด ประกอบด้วย Sta.4+700 , Sta.5+050 , Sta.5+150 และ Sta.5+450 ทุกหน้าตัด มีค่า Factor of Safety มากกว่า 1.0 แสดงให้เห็นว่า ลาดดินบึงหนองบอนมีเสถียรภาพเพียงพอหากต้องการพร่องน้ำออกจากบึงหนองบอนจนถึงระดับกักเก็บต่ำสุด และมีการเสียรูปของลาดดินสูงสุด 20.97 เซนติเมตร จากการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์จากแบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์ โดยใช้โปรแกรม PLAXIS แบบ 2 มิติ กับข้อมูลการตรวจวัดพฤติกรรมของดินภายในบึงหนองบอนขณะสูบน้ำจนถึงระดับที่ได้ทำการวิเคราะห์ที่ระดับ-5.00 ม.รทก. นอกจากนี้ พบว่าข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม PLAXIS 2D แตกต่างจากข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดจริง ค่าความแตกต่างต่ำสุดเท่ากับ 0.00 เมตร และสูงสุดเท่ากับ 1.0 เมตร(จำนวน139หน้า)th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectไฟไนต์เอลิเมนต์th
dc.subjectเสถียรภาพth
dc.subjectโปรแกรม PLAXIS 2Dth
dc.subjectFinite Element Methoden
dc.subjectStabilityen
dc.subjectPLAXIS 2Den
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationWater supply; sewerage, waste management and remediation activitiesen
dc.titleStability and Deformation analyses of soil slope due to water drainage of Bueng Nong Bon                                            by finite element Methoden
dc.titleการวิเคราะห์เสถียรภาพและการเสียรูปของลาดดินเนื่องจากการระบายน้ำของบึงหนองบอน                                             ด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorCHAIRAT TEERAWATTANASUKen
dc.contributor.coadvisorชัยรัตน์ ธีระวัฒนสุขth
dc.contributor.emailadvisorchairat.t@cit.kmutnb.ac.th,chairatte@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchairat.t@cit.kmutnb.ac.th,chairatte@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Engineering (วศ.ม.)en
dc.description.degreenameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (M.Eng.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCivil and Environmental Engineering Technologyen
dc.description.degreedisciplineเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อมth
Appears in Collections:COLLEGE OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6503062851079.pdf11.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.