Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorANUSART TASENen
dc.contributorอนุศาสน์ ตาเสนth
dc.contributor.advisorKANITTA HINONen
dc.contributor.advisorขนิษฐา หินอ่อนth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-29T03:20:16Z-
dc.date.available2025-04-29T03:20:16Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/150-
dc.description.abstractThis research, titled “Intelligent Design Thinking with Generative Artificial Intelligence to Enhance Competence in Producing Digital Media for Pre-Service Teachers,” is a Research and Development (R&D) study aimed at: (1) synthesizing an intelligent design thinking process with generative AI to enhance the competence of pre-service teachers in producing digital media; (2) developing an intelligent design thinking process with generative AI to strengthen the digital media production competence of pre-service teachers; (3) developing a learning management system based on the intelligent design thinking process with generative AI to bolster the digital media production competence of pre-service teachers; and (4) evaluating the competence of pre-service teachers in producing digital media after participating in the intelligent design thinking process with generative AI. The research procedures were divided into four phases: Phase 1 involved synthesizing the intelligent design thinking process with generative AI to enhance the digital media production competence of pre-service teachers. Phase 2 focused on developing the intelligent design thinking model with generative AI to improve pre-service teachers’ digital media production competence. Phase 3 entailed creating a learning management system based on the intelligent design thinking process with generative AI to reinforce their digital media production competence. Finally, Phase 4 evaluated the digital media production competence of pre-service teachers after implementing the intelligent design thinking process with generative AI. The sample consisted of 29 second-year students majoring in Digital Technology for Education at the Faculty of Education, Chandrakasem Rajabhat University, during the second semester of the 2024 academic year. The students were selected using cluster sampling based on the criteria of (1) being second-year students in Digital Technology for Education, and (2) being enrolled in the course “Design and Development of Digital Media for Education with AI” in the second semester of the 2024 academic year. The research instruments included: (1) the intelligent design thinking process with generative AI to enhance the competence of pre-service teachers in producing digital media; (2) the learning management system implementing the intelligent design thinking process with generative AI for digital media production; (3) assessments for learning achievement in digital media production after engaging in the intelligent design thinking process with generative AI, comprising (3.1) a 30-item pretest on learning achievement, (3.2) a 30-item posttest on learning achievement, (3.3) a digital media production competence evaluation form, and (3.4) an attitude assessment form regarding the use of the intelligent design thinking process with generative AI. Data were analyzed using the mean, standard deviation, index of item-objective congruence (IOC), and t-test.The findings revealed that:1.       The overall appropriateness of the intelligent design thinking model with generative AI for enhancing pre-service teachers’ digital media production competence had a mean score of 4.16 (S.D. = 0.78), rated at a high level.2.       The appropriateness of the model components had a mean score of 4.18 (S.D. = 0.77), also at a high level.3.       The detailed evaluation of the model (focusing on its practical application) had a mean score of 4.40 (S.D. = 0.82), at a high level.4.       The developed learning management system implementing the intelligent design thinking process with generative AI to enhance digital media production competence showed an overall mean of 4.34 (S.D. = 0.38), at a high level.5.       A comparison of pre- and post-test learning achievement scores revealed that the post-test scores were significantly higher than the pre-test scores at the .01 level.6.       The overall digital media production competence of the students who participated in the intelligent design thinking process with generative AI was at a very good level, with a mean score of 4.48 (S.D. = 0.72).The attitude of pre-service teachers toward the learning management system employing the intelligent design thinking process with generative AI was rated at the highest level, with a mean score of 4.79 (S.D. = 0.10).en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่อง การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสังเคราะห์กระบวนการคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 2) เพื่อออกแบบการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 3) เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 4) เพื่อประเมินสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูหลังจากการใช้กระบวนการการคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาวิชาชีพครู สาขาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567 จำนวน 29 คน โดยมีผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเรียนรู้และพัฒนาระบบการเรียนรู้ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนจากหลากหลายสถาบันจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบประเมินการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 2) แบบประเมินระบบการคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 3) แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูหลังจากการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์ 4) แบบประเมินทักษะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูหลังจากการใช้กระบวนการการคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์ 5) แบบประเมินประเมินเจตคติของนักศึกษาวิชาชีพครูที่มีต่อการใช้ระบบการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการประเมินความเหมาะสมของการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู (องค์ประกอบรวม) พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก (Mean= 4.16, S.D. = 0.78)2) ผลการประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบของการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (Mean= 4.18, S.D. = 0.77)3) ผลการประเมินรายละเอียดของการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู (ด้านนำไปใช้งาน) พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (Mean= 4.40, S.D. = 0.82)4) ผลการพัฒนาระบบการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (Mean= 4.34, S.D. = 0.38)5) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของผู้เรียนกลุ่มตัวอย่าง สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .016) ผลการประเมินสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลด้วยการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู พบว่า มีผลคะแนนของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างในภาพรวม เฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก (Mean= 4.48, S.D. = 0.72)7) ผลการประเมินเจตคติของนักศึกษาวิชาชีพครูที่มีต่อการคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู พบว่า นักศึกษามีเจตคติความคิดเห็นต่อระบบจัดการเรียนรู้ในภาพรวม อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด (Mean=4.79, S.D=0.10) ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์สามารถส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลของนักศึกษาวิชาชีพครูได้อย่างมีประสิทธิภาพth
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectการคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดth
dc.subjectปัญญาประดิษฐ์th
dc.subjectสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลth
dc.subjectนักศึกษาวิชาชีพครูth
dc.subjectIntelligent Design Thinkingen
dc.subjectArtificial Intelligenceen
dc.subjectDigital Media Production Performanceen
dc.subjectstudent teacheren
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationBiology and biochemistryen
dc.titleIntelligent design thinking with generative artificial intelligence to promote digital media production competencies for Pre-service teacher.en
dc.titleการคิดเชิงออกแบบอย่างชาญฉลาดด้วยปัญญาประดิษฐ์รังสรรค์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKANITTA HINONen
dc.contributor.coadvisorขนิษฐา หินอ่อนth
dc.contributor.emailadvisorkanitta.h@fte.kmutnb.ac.th,kanittah@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorkanitta.h@fte.kmutnb.ac.th,kanittah@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science (วท.ม.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineTechnological Educationen
dc.description.degreedisciplineครุศาสตร์เทคโนโลยีth
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602052856068.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.