Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/146
Title: Development of Inquiry-based Learning Model via Simulation Application to Develop Student's Practical Skills
การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ผ่านแอปพลิเคชันจำลองแบบสืบเสาะ เพื่อพัฒนาทักษะเชิง ปฏิบัติงานของผู้เรียน
Authors: CHANWIT BUTSADI
ชาญวิทย์ บุษดี
SASITHORN CHOOKAEW
ศศิธร ชูแก้ว
King Mongkut's University of Technology North Bangkok
SASITHORN CHOOKAEW
ศศิธร ชูแก้ว
sasithorn.c@fte.kmutnb.ac.th,sasithornc@kmutnb.ac.th
sasithorn.c@fte.kmutnb.ac.th,sasithornc@kmutnb.ac.th
Keywords: การเรียนรู้ตามการสืบเสาะหาความรู้
การประยุกต์ใช้การจำลอง
ทักษะการปฏิบัติ การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
ซอฟต์แวร์จำลองในการศึกษา
Inquiry-based learning
simulation application
practical skills
Electric Motor Control
Simulation Software in Education
Issue Date:  9
Publisher: King Mongkut's University of Technology North Bangkok
Abstract: Most of the students' technical problems are related to the problem of incorrect circuit connection. Incorrect wiring is a common problem, which may lead to short circuits and motor damage. In addition, the current teaching is not interesting enough. This research aims to 1) develop a learning model through an inquiry simulation application, 2) study the students' practical skills, and 3) study the students' acceptance of technology using the learning model. An electric motor control training kit was developed through the Simurelay application to connect electric motor control circuits. The research instruments included a learner's practical skills test and a technology acceptance assessment. This study was quasi-experimental research with an unequal control group design. The students' practical skills were assessed before and after using the developed learning model. The target group was second-year vocational certificate students in the Electrical Power Department, Thanyaburi Technical College, who registered to study electric motor control in the first semester 2024. Thirty-eight students were selected and divided into two groups: an experimental group of 22 and a control group of 16. The study results found that students in the experimental group had higher practical skills than students in the control group. In addition, they accepted technology at a high level.                                                                                       (Total 81 pages)
ปัญหาทางเทคนิคของผู้เรียนส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับปัญหาด้านการต่อวงจรผิดพลาด การเดินสายไฟที่ไม่ถูกต้องเป็นปัญหาที่พบบ่อย ซึ่งอาจนำไปสู่การลัดวงจรและการเสียหายของมอเตอร์ อีกทั้งการเรียนการสอนปัจจุบันยังไม่น่าสนใจมากพอ งานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ผ่านแอปพลิเคชันจำลองแบบสืบเสาะ 2) เพื่อศึกษาทักษะเชิงปฏิบัติงานของผู้เรียน และ 3) เพื่อศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีของผู้เรียนที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้  โดยได้ดำเนินการพัฒนาชุดฝึกการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าผ่านแอปพลิเคชันซิมมูรีเลย์เกี่ยวกับการต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดทักษะเชิงปฏิบัติงานของผู้เรียนและแบบประเมินการยอมรับเทคโนโลยี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองใช้แบบแผนการทดลองกลุ่มควบคุมไม่เท่าเทียมกัน มีแบบประเมินวัดทักษะเชิงปฏิบัติของผู้เรียนก่อนและหลังการใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนในการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ภาคเรียนที่ 1/2567 โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 38 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง จำนวน 22 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 16 คน ผลการศึกษาพบว่านักเรียนในกลุ่มทดลองมีทักษะการเรียนรู้ทักษะเชิงปฏิบัติงานสูงกว่านักเรียนในกลุ่มควบคุม นอกจากนี้มีการยอมรับเทคโนโลยีในระดับมากอีกด้วย(สารนิพนธ์มีจำนวนทั้งสิ้น 81 หน้า)
URI: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/146
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602017858068.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.