Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKANNIKA THONGSAIen
dc.contributorกรรณิกา ทองใสth
dc.contributor.advisorSANTI HUTAMARNen
dc.contributor.advisorสันติ หุตะมานth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-29T03:20:15Z-
dc.date.available2025-04-29T03:20:15Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/145-
dc.description.abstractProgramming is crucial in today’s world, especially in electronics, such as automation and microcontroller development, which are fundamental to industrial work. However, traditional methods like slide-based teaching can hinder student understanding. Some students hesitate to ask questions, and class discussions may delay the lesson, reducing learning effectiveness. This thesis aims to develop a learning model using constructivist AI combined with cooperative learning in a microcontroller course. It explores programming skill development and student acceptance of AI-supported learning. The study used a quasi-experimental design with 17 students in the experimental group and 20 in the control group from Prachinburi Technical College. Results showed that students in the experimental group had significantly higher post-test scores (pen
dc.description.abstractการเขียนโปรแกรมมีความสำคัญมากในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะในสาขาอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การพัฒนาระบบอัตโนมัติและไมโครคอนโทรลเลอร์ ซึ่งเป็นพื้นฐานของงานอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม วิธีการสอน เช่น การใช้สไลด์ อาจทำให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาได้ยาก บางครั้งนักเรียนไม่กล้าถามคำถาม หรือการถามตอบอาจทำให้การสอนล่าช้า ส่งผลให้การเรียนรู้ไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นสารนิพนธ์ฉบับนี้  มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญญาประดิษฐ์แบบรู้สร้าง ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือในรายวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์  เพื่อศึกษาทักษะการเขียนโปรแกรมด้วยปัญญาประดิษฐ์แบบรู้สร้าง ในการเรียนการสอนแบบร่วมมือในวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ และเพื่อศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีของผู้เรียนในการใช้ปัญญาประดิษฐ์แบบรู้สร้าง เพื่อการสนับสนุนการเรียนรู้ในรายวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ วิธีการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental design) กลุ่มทดลอง คือ ผู้เรียน สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 17 คน กลุ่มควบคุม คือ ผู้เรียนสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 20 คน  จากวิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี ผลการวิจัยพบว่าผู้เรียน ผู้เรียนที่เรียนรู้โดยใช้ปัญญาประดิษฐ์แบบรู้สร้างร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนโปรแกรมสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กลุ่มทดลองมีคะแนน ความรู้หลังเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectปัญญาประดิษฐ์แบบรู้สร้างth
dc.subjectการเรียนรู้แบบร่วมมือth
dc.subjectทักษะการเขียนโปรแกรมth
dc.subjectGenerative AIen
dc.subjectCooperative Learningen
dc.subjectProgramming Skillsen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationBasic / broad general programmesen
dc.titleDevelopment of a Cooperative Generative AI Learning Model to Enhance Vocational Students' Programming Skillen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญญาประดิษฐ์แบบรู้สร้างร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนโปรแกรมสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษาth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSANTI HUTAMARNen
dc.contributor.coadvisorสันติ หุตะมานth
dc.contributor.emailadvisorsanti.h@fte.kmutnb.ac.th,santih@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsanti.h@fte.kmutnb.ac.th,santih@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science in Technical Education (ค.อ.ม.)en
dc.description.degreenameครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (M.S.Tech.Ed.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineTeacher Training in Mechanical Engineeringen
dc.description.degreedisciplineครุศาสตร์เครื่องกลth
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602017858050.pdf8.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.